นัดพบแพทย์

ไมเกรน by หมอเมบี

20 Sep 2018 เปิดอ่าน 2613

                                  ไมเกรน (Migraines)คือโรคที่ท าให้เกิดอาการปวดศีรษะรุนแรงชนิดหนึ่ง จะรู้สึกปวดตุบๆ โดยมัก ปวดบริเวณศีรษะข้างเดียว หรือปวดศีรษะข้างเดียวก่อนแล้วจึงพัฒนาไปปวดศีรษะสองข้าง เกิดได้กับทุก ช่วงอายุคน ระยะเวลาที่เกิดขึ ้นอยู่กับแต่ละบุคคล อาการของโรคจะเป็ นๆหายๆ การรักษาให้หายขาดนั ้น ท าได้ยาก ถ้าเป็ นรุนแรงจะมีผลกระทบต่อการท างานและการด าเนินชีวิต ท าให้ไม่สามารถใช้ชีวิตประจ าวัน ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกายและสภาพจิตใจ ซึ่งในยุคปัจจุบัน ด้วยสภาพ เศรษฐกิจและสังคมที่ทุกวันมนุษย์ต้องเผชิญกับการแข่งขัน และแรงกดดันในการด าเนินชีวิต เพื่อขับเคลื่อน ตนให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงในยุคสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ ท าให้มนุษย์ต้องเผชิญกับความเครียด ทั ้งเรื่อง การงาน การเงิน ครอบครัว รวมไปถึงเรื่องส่วนตัว ซึ่งก่อให้ความเครียดเวียนเป็ นวัฏจักรท าร้ายสุขภาพ เมื่อ มีความเครียดร่วมกับพันธุกรรม และฮอร์โมนต่างเป็ นปัจจัยส าคัญท าให้เกิดโรคไมเกรน โรคไมเกรนถือเป็ น โรคที่พบเป็ นอันดับสาม โดยใน1วัน ทั่วโลกจะพบผู้ป่ วยที่มีอาการปวดศีรษะไมเกรนประมาณ 3,000 คน ต่อประชากร 1 ล้านคน อัตราการเกิดโรคสูงจนเป็ นที่น่าวิตก เป็ นความจริงที่ว่าอาการปวดศีรษะไมเกรนส่ง ผลกระทบต่อการใช้ชีวิตปัจจุบัน[1] อาการของโรคจะเป็ นๆหายๆ การรักษาให้หายขาดนั ้นท าได้ยาก อาการที่มักพบร่วมด้วย เช่น คลื่นไส้ อาเจียน และอาจมีความรู้สึกไวต่อเสียงและแสงสว่างมากกว่าปกติ เป็ นต้น[2]ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรค ไมเกรน ได้แก่ ฮอร์โมน อารมณ์ สภาพร่างกาย การรับประทานอาหาร สังคม สิ่งแวดล้อม และการใช้ยา เป็ นต้น โดยสิ่งกระตุ้นเหล่านี ้เป็ นสิ่งที่เกิดขึ ้นและส่งผลในแต่ละบุคคลไม่เหมือนกัน[3]กลไกการเกิดโรคไม เกรนเป็ นผลจากความผิดปกติชั่วคราวในการท างานของสมองที่มีผลกระทบต่อเส้นประสาท สารเคมี และ หลอดเลือดในสมอง แต่สาเหตุที่แท้จริงของไมเกรนนั ้นยังไม่เป็ นที่แน่ชัดซึ่งอาจเกิดได้จากหลายปัจจัยเช่น เกิดจากหลอดเลือดในสมองมีการหดตัว หรือ เซลล์ประสาทกลุ่มTrigermina lnucleus ถูกกระตุ้นซึ่งจะ ปล่อยสารเคมีหลายชนิดที่มีผลก่อให้เกิดอาการปวดเข้าสู่หลอดเลือด[2]

 

                ความหมายของไมเกรนทางการแพทย์แผนจีน ในต าราหวงตี ้เน่ยจิง(《黄帝内经》)ทางแพทย์แผนจีนได้มีการบัญญัติโรคโถวเฟิ ง(头风) เป็ น ครั ้งแรกโดย จัดโรคไมเกรนอยู่ในหมวดโรคโถวเฟิ ง(头风) โดยมีลมเป็ นปัจจัยก่อโรค ที่เกิดจากปัจจัยการก่อ โรคภายนอกทั ้งหก (六淫外袭)ท าให้เลือดและลมปราณกระจัดกระจาย ลมอุดกั ้น ก้อนเลือดอุดตัน หยินหยางของอวัยวะภายในเสียสมดุลท าให้เกิดอาการปวดหัวไมเกรนขี ้น [3] ในต าราอี๋หลินเฉิงโม่《医林绳墨》กล่าวว่า หัวของมนุษย์ก็เปรียบดั่งหยาง เป็ นต าแหน่งสูงสุด ของร่างกายที่ลมปราณหยาง(阳气)จากมือและเท้าไปรวมกัน และยังเป็ นต าแหน่งที่สารจ าเป็ นของร่างกาย 2 (精)ที่มาจากอวัยวะกลวงและอวัยวะตันเดินทางไปหล่อเลี ้ยงบริเวณศีรษะหรือดวงตา ท าให้การท างานของ อวัยวะเป็ นปกติ ลมที่เข้ามาจากภายนอก หมุนเวียนอยู่ที่ด้านบน โดยลมนั ้นจะผ่านต าแหน่งของ เฟิ งฝู่ (风府) และเดินทางไปยังสมองเรียกว่า หน่าวเฟิ ง(脑风) โดยลมนั ้นจัดเป็ นปัจจัยก่อโรคภายนอก มักลอยขึ ้นสูงและไปกระทบลมปราณหยาง(阳经) โดยส่วนหัวของคนเรานั ้นเป็ นต าแหน่งของลมปราณ หยางมารวมตัวกัน เมื่อลมมากระทบที่ศีรษะจึงท าให้ปวดศีรษะได้

 

             สาเหตุของการเกิดไมเกรนทางการแพทย์แผนจีน(病因病机)

1. เกิดจากการได้รับเสียชี่(邪气)จากภายนอกเข้าสู่ร่างกาย อาจเป็ นทั ้งความ ร้อน หรือความชื ้นมา กระทบศีรษะของผู้ป่ วย ท าให้ลมปราณหยางเดินทางไม่สะดวก จนส่งผลให้การหมุนเวียนของเลือด ไหลเวียนติดขัด

2. เกิดจากอารมณ์ เช่น ความเครียดท าให้ลมปราณหยางติดขัด ลมปราณหยางตับจึงขึ ้นสูง ท าให้ลมปราณหยางไหลเวียนไม่สะดวก จึงท าให้ปวดศีรษะ

3. เกิดจากอาหารมันหรือรสจัด ส่งผลกระทบต่อม้ามและกระเพาะโดยตรง ท าให้ม้ามท างานไม่ดี ย่อยอาหารไม่มี ประสิทธิภาพ เกิดการคั่งของสารน ้า ลมปราณหยางไหลขึ ้นไม่ได้ ลมปราณบริเวณ ศีรษะ จึงถูกอุดกั ้นด้วยสารน ้า จึงท าให้ปวดศีรษะ

4. เกิดจากสารจ าเป็ นตั ้งแต่ก าเนิดไม่เพียงพอ หรือเกิดจากร่างกายเหนื่อยล้าจนส่งผลกระทบต่อไต สารจิงในไตจึงถูก ท าลายและลดลง ความชราภาพของร่างกาย อาการป่ วยเรื ้อรัง ภาวะที่ร่างกาย ขาดเลือด เลือดจึงไหลไปเลี ้ยงสมอง ไม่เพียงพอ จึงท าให้ปวดศีรษะ[5]

 

                                          กลไกลการรักษาทางแพทย์แผนจีน การฝังเข็มมีบทบาทในการช่วยบรรเทาอาการ ป้ องกันการเกิด โรคไมเกรน และช่วยลดการใช้ยาแผนปัจจุบนั ตามแนวคิดของการแพทย์แผนจีนโบราณ การฝังเข็มมีฤทธิ์ ในการช่วยเพิ่มความคล่องตัวการไหลเวียนของโลหิต และลมปราณที่ติดขัด การปรับการท างานของอวัยวะ ต่างๆในร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุลและการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย เพื่อก าจัดต้นเหตุปัจจัยที่เป็ น อันตรายออกไปจากร่างกาย โรคไมเกรนเป็ นโรคเรื ้อรัง ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต การรักษาด้วยการใช้ยาแผนปัจจุบันเป็ นเวลานาน มีความเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อร่างกายและเกิดผล ข้างเคียงจากการใช้ได้ ดังนั ้น การฝังเข็มจึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งในการรักษาผู้ป่ วยโรคไมเกรนที่มี ประสิทธิภาพ ไม่มีผลข้างเคียงกับผู้ป่ วย และได้รับการยอมรับจากองค์การอนามัยโลก

 

                                 ความส าคัญของการฝังเข็มกับโรคไมเกรน ปัจจุบันการฝังเข็มสามารถรักษาโรคไมเกรนได้ทั ้งระยะแสดงอาการ โดยช่วงนี ้การฝังเข็มจะช่วย ระงับอาการปวด และช่วยป้ องกันการเกิดอาการในระยะพัก ผลของการศึกษาวิจัยจ านวนมากแสดงให้เห็น ว่าการรักษาด้วยการฝังเข็มในการรักษาไมเกรนนั ้นอาจมีผลในลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกับการ บ าบัดด้วยยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของการใช้ยาแก้ปวด กลไกการรักษาทางแพทย์แผนจีน การฝังเข็มมีบทบาทในการช่วยบรรเทาอาการ ป้ องกันการเกิด โรคไมเกรน และช่วยลดการใช้ยาแผนปัจจุบนั ตามแนวคิดของการแพทย์แผนจีนโบราณ การฝังเข็มมีฤทธิ์ ในการช่วยเพิ่มความคล่องตัวการไหลเวียนของโลหิต และลมปราณที่ติดขัด การปรับการท างานของอวัยวะ ต่างๆในร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุลและการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย เพื่อก าจัดต้นเหตุปัจจัยที่เป็ น อันตรายออกไปจากร่างกาย โรคไมเกรนเป็ นโรคเรื ้อรัง ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต การรักษาด้วยการใช้ยาแผน ปัจจุบันเป็ นเวลานาน มีความเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อร่างกายและเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ได้ ดังนั ้น การฝังเข็มจึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งในการรักษาผู้ป่ วยโรคไมเกรนที่มีประสิทธิภาพ ไม่มีผลข้างเคียงกับ ผู้ป่ วย และได้รับการยอมรับจากองค์การอนามัยโลก การพัฒนาต่อยอด แนวทางการรักษาโรคไมเกรนด้วยการแพทย์แผนจีน นอกจากการรักษาด้วยการฝังเข็มแล้ว ยังมี การรักษาอีกหลายรูปแบบ อาทิเช่น การครอบแก้ว โดยจะเน้นการรักษาเพื่อปรับการไหลเวียนของระบบ เลือดและลมปราณให้ไหลเวียนได้สะดวก และระงับอาการปวดเป็ นหลัก นอกจากนี ้ยังสามารถใช้วิธีการ รักษาโดยการปล่อยเลือด การฝังเข็มหรือติดหมุดที่ใบหู และการรับประทานยาจีนเพื่อปรับสมดุลภายใน ร่างกาย เป็ นต้น เราสามารถน าการรักษาเหล่านี ้มาใช้ร่วมกับการฝังเข็มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา โรคไมเกรน และเป็ นการเพิ่มทางเลือกในการรักษาได้อีกด้วย

 

CREDIT :

การศึกษาประสิทธิผลของการฝังเข็มต่อการรักษาโรคไมเกรน The Effectiveness of Acupuncture for The Treatment of Migraine

คณะการแพทย์แผนจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปี การศึกษา 2560
1.นายณัฏฐ์ชยกร ธนาจิรัชญาสิริ 542412 2.นายวรปรัชญ์ ชัยพฤกษทล 543010 3.นายวรวุฒิ เทพาพิทักษ์ 550412 4.นางสาวบุษรา มีโพธิ์สม 550423 5.นางสาวยศวรรณพร เดชสุวรรณ์ 550571 6.นางสาวชัญญานุช ทองตัน 550578 7.นางสาวเกศมาภรณ์ ศาสตระวาทิตย์ 550514 8.นางสาวเพชรรัตน์ ปั๋นแก้ว 552076 9.นางสาวภัทรานิษฐ์ หนูกระจ่าง 552078 10.นางสาวฐิตาพร ศิลา 552151 11.นางสาวสุปรียา แจ่มพิทยากรณ์ 552751