บทความการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีนในโรคลำไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรัง

11 Jun 2018 เปิดอ่าน 3883

บทคัดย่อ : โรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรัง (UC) เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคระบบทางเดินอาหารที่พบได้บ่อย นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 21 พบว่าอัตราการเกิดโรคมีจานวนเพิ่มสูงขึ้น ระยะเวลาของโรคมักเป็นเรื้อรัง เมื่อรักษาพบว่าสามารถกลับมาเป็นซ้าได้อีก การรักษาด้วยวิธีแพทย์แผนปัจจุบันนั้นยังไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร การรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีนได้ผลดี พบผลข้างเคียงน้อยและค่าใช้จ่ายในการรักษาไม่สูงมากนัก บทความนี้ศึกษาการรักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีน ทั้งการทานยาจีน การใช้ยาจีนสวนทวารหนัก การรมยาฝังเข็ม การนวดทุยหนาเป็นต้น

คำที่เกี่ยวข้อง : โรคลาไส้ใหญ่อักเสบ , การรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีน , บทความวิจัย
สาเหตุที่แท้จริงของโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรัง (UC) ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่พบว่ามีการอักเสบเกิดขึ้นเฉพาะบริเวณผนังลาไส้ใหญ่ แผลจะอยู่บริเวณลาไส้ตรงหรือเหนือลาไส้ตรงขึ้นไป พบอาการปวดท้องท้องเสียอย่างรุนแรง ถ่ายปนมูกหรือเลือดสด การรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์จีนมีหลายวิธี อาทิ การใช้ยาจีน การฝังเข็ม การนวดทุยหนาเป็นต้น ซึ่งผลการรักษาเป็นที่น่าพอใจ
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนกับการรักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบเรื้อรัง
เนื่องจากสาเหตุและกลไกในการเกิดโรคมีความซับซ้อน เป็นโรคเรื้อรังที่ยากจะหายขาด และสามารถกลับมาเป็นซ้าได้ ดังนั้นนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรังจึงจัดเป็นโรคที่สาคัญอีกโรคหนึ่งในโรคระบบทางเดินอาหาร การวิจัยได้ถูกศึกษาค้นคว้าเรื่อยมาตั้งแต่ปัจจัยกลไกการเกิดโรค การจาแนกพยาธิสภาพ และวิธีการรักษา ซึ่งจะกล่าวต่อไปดังนี้

1. ปัจจัยและกลไกการเกิดโรค
จางหลิงเหว่ย[1] จาแนกปัจจัยในการเกิดโรค โดยอ้างอิงจากคัมภีร์จิ่งเยว่เฉวียนซู《景岳全书》แต่งโดยจางจ้งจิ่ง มีใจความตอนหนึ่งว่า “ท้องเสียสาเหตุแท้จริงนั้นไม่พ้นม้ามและกระเพาะ” (泄泻之本,无不由于脾胃) ซึ่งกล่าวถึงปัจจัยที่ทาให้เกิดโรค อันเกิดจากลม , ความเย็น , ความชื้น , ร้อน , อาหาร , ชีวิตประจาวัน , อารมณ์ และพันธุกรรม นอกจากนี้การดาเนินไปของโรคสัมพันธ์กับม้ามและกระเพาะที่อ่อนแอ ทาให้ความชื้นเข้าสู่ได้ง่าย พยาธิสภาพเกิดที่ม้าม กระเพาะ และลาไส้ จากประสบการณ์ที่สั่งสมเป็นเวลานานของแพทย์จีนเฉินจื้อสุ่ย[2] พบว่ากลไกของโรคมักเกิดจากม้ามไตอ่อนแอ , ตับม้ามสูญเสียสมดุล , ความร้อนชื้นอุดกลั้นในลาไส้ใหญ่ , นอกแกร่งในพร่อง
จากบทความข้างต้นจะเห็นได้ว่ากลไกหลักที่ทาให้เกิดโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรังคือ นอกแกร่งในพร่อง , เย็นร้อนปะปน นอกจากนี้ยังเกิดจากม้ามพร่องหรือม้ามกับไตพร่องทั้งคู่ แต่แสดงออกมาในรูปแบบชื้น , ร้อน , คั่ง , อุดกลั้น หรือเกิดจากม้ามพร่องชื้น , พร่องแกร่งปะปน , เย็นร้อนปะปน ทาให้เป็นโรคที่เรื้อรังและสามารถกลับมาเป็นซ้าได้

2. การจาแนกประเภทพยาธิสภาพ
ปัจจุบันการแพทย์แผนจีนได้จาแนกพยาธิสภาพของโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรังออกเป็นหลายประเภท ที่พบบ่อยคือ ลาไส้ใหญ่ชื้นร้อน , ม้ามกระเพาะอ่อนแอ , หยางในม้ามไตพร่อง , ตับม้ามทางานไม่ประสานกัน , ลมปราณติดขัด , เลือดคั่ง , ม้ามกระเพาะพร่องเย็น , เย็นร้อนปะปนเป็นต้น จูเซิงเหลียง[3] อาศัยประสบการณ์ทางคลินิกได้จาแนกพยาธิสภาพออกเป็น 6 ประเภทคือ ชื้นร้อนอุดกลั้นภายใน , ม้ามกระเพาะอ่อนแอ , หยางในม้ามไตพร่อง , ตับติดขัดม้ามอ่อนแอ , หยินและเลือดพร่อง , ลมปราณติดขัดเลือดคั่ง
หลินหมิ่น[4] จาแนกพยาธิสภาพเป็น 6 ประเภทคือ ลาไส้ใหญ่ชื้นร้อน , ม้ามอ่อนแอความชื้นอุดกลั้น , เย็นร้อนปะปน , ตับติดขัดม้ามอ่อนแอ , หยางในม้ามไตพร่อง , หยินและเลือดพร่อง นอกจากนี้หน่วยงานเฉพาะทางด้านการรักษาควบคู่ระหว่างแพทย์แผนจีนกับแพทย์แผนปัจจุบันในโรคระบบทางเดินอาหาร ได้จัดทาคู่มือการวินิจฉัยและการรักษาควบคู่ระหว่างแพทย์แผนจีนกับแพทย์แผนปัจจุบันในโรคลาไส้อักเสบ[5]《溃疡性结肠炎中西医结合诊疗指南(草案)》โดยในคู่มือมีการจาแนกพยาธิสภาพเป็น 6 ประเภทคือ ลาไส้ใหญ่ชื้นร้อน , ลมปราณในม้ามพร่อง , หยางในม้ามและไตพร่อง , ตับติดขัดม้ามอ่อนแอ , เย็นร้อนปะปน , พิษร้อนลุกลาม

3. วิธีการรักษา
3.1 รักษาโดยการทานยาจีน
จากอดีตถึงปัจจุบันแพทย์แผนจีนแต่ละท่านมีแนวทางในการรักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบที่ไม่เหมือนกัน ซึ่งมีจุดเด่นในการรักษาที่แตกต่างกันออกไป ผู้เขียนจะขอหยิบยกมาบางส่วนดังนี้ จางเซียงอัน[6] ได้ศึกษาผู้ป่วยโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลจานวน 21 ราย โดยจาแนกพยาธิสภาพเป็น 6 ประเภท คือ
1. ม้ามพร่องชื่น : วิธีการรักษาคือเพิ่มลมปราณ เสริมม้ามกระเพาะ ขับชื้น ตารับยาที่ใช้คือ ฉางเจี้ยงผิง (肠健平) ประกอบด้วยตัวยาไท่จื่อเซิน (太子参) , ไปจู๋ (白术) , ฉ่าวอี้อี่เหริน (炒薏苡仁) , ฝูหลิง (茯苓) , ซาเหริน (砂仁) เป็นต้น เพิ่มลดยาตามความเหมาะสม
2. ชื้นร้อนอุดกลั้น : วิธีการรักษาคือขับร้อนขจัดพิษ ขับชื้น ปรับลมปราณเดินเลือด สลายติดขัด ตารับยาที่ใช้คือ ฉางชิงซู (肠清舒) ประกอบด้วยตัวยา ไป๋โถวเวิง (白头翁) , ฉินผี (秦皮) , ตังกุย (当归) , เจียวซานจา (焦三仙) , หวงเหลียน (黄连) , มู่เซียง (木香) เป็นต้น เพิ่มลดยาตามความเหมาะสม
3. เลือดคั่งในท่อลาไส้ : วิธีการรักษาสลายเลือดคั่ง ปรับลาไส้ทะลวงเส้นลมปราณ ตารับยาที่ใช้คือ หลี่ฉางเป่า (理肠宝) ประกอบด้วยตัวยาตังกุย (当归) , ชื่อสาว (赤芍) , เถาเหริน (桃仁) , ฮว๋าสือ (滑石) , โฮ่วผ้อ (厚朴)เป็นต้น เพิ่มลดยาตามความเหมาะสม
4. ม้ามและไตพร่อง : วิธีการรักษาอุ่นบารุงม้ามไต ระงับอาการท้องเสีย ตารับยาที่ใช้คือ ฉางอี๋ซู (肠怡舒) ประกอบด้วยตัวยาเฮอจื่อ (诃子) , ปู๋กู่จื่อ (补骨脂) , อู๋เว่ยจื่อ (五味子) , อู๋จู๋อวี๋ (吴茱萸) , เจ๋อฟู่จื่อ (制附子) , โร่วกุ้ย (肉桂)เป็นต้น เพิ่มลดยาตามความเหมาะสม
5. ม้ามกระเพาะทางานไม่ประสาน : วิธีการรักษาทะลวงตับเสริมม้าม เดินลมปราณและเลือด ระงับอาการท้องเสียและอาการปวด ตารับยาที่ใช้คือ ฉางซูอัน (肠舒安) ประกอบด้วยตัวยาเจียวไป๋จู๋ (焦白术) , ฉ่าวไป๋สาว(炒白芍) , ม่ายหยา (麦芽) , หวงฉี (黄芪) , ฝางเฟิง (防风) , ฉายหู (柴胡)เป็นต้น เพิ่มลดยาตามความเหมาะสม
6. เลือดลมปราณพร่อง : วิธีการรักษาเพิ่มลมปราณและเลือด สลายติดขัด ตารับยาที่ใช้คือ ฉางกู่คัง (肠谷康) ประกอบด้วยตัวยาตังกุย (当归) , ไท่จื่อเซิน (太子参) , เจียวไป๋จู๋ (焦白术) , เซิงหวงฉี (生黄芪) , หลงเหยียนโร่ว (龙眼肉) , เออเจียว (阿胶) , มู่เซียง (木香)เป็นต้น เพิ่มลดยาตามความเหมาะสม
ผลการรักษาในผู้ป่วยจานวนทั้งสิ้น 69 ราย พบว่ารักษาหายมีจานวน 33 ราย เห็นผลเด่นชัดมีจานวน 34 ราย ไม่ได้ผลมีจานวน 2 ราย จากงานวิจัยของหวงเหวินอู่[7] ได้ศึกษาผู่ป่วยโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลจานวน 36 ราย โดยรักษาตามลักษณะพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นดังนี้ ชื้นร้อนอุดกลั้น วิธีการรักษาคือดับร้อนขับชื้น ตารับยาที่ใช้คือ เก๋อเกินหวงเหลียนทัง (葛根芩连汤) หากพยาธิสภาพเกิดจากม้ามกระเพาะอ่อนแอ วิธีการรักษาคือบารุงม้ามและกระเพาะ ตารับยาที่ใช้คือ เซินหลิงไปจู๋ส่านโดยปรับเพิ่มลดยาตามความเหมาะสม (参苓白术散加减) หากหยางในม้ามและไตพร่อง วิธีการรักษาคือ อุ่นและบารุงม้ามไต ตารับยาที่ใช้คือ ซื่อเสินหว่านปรับเพิ่มลดยาตามความเหมาะสม (四神丸加减) หากพยาธิสภาพคือมีทั้งความเย็นและร้อนปะปนอยู่ในร่างกาย วิธีการรักษาคือ อุ่นหยางและระบายร้อนควบคู่กันไป ตารับยาที่ใช้คือ อูเหมยหวาน (乌梅丸) หากลมปราณติดขัดเลือดคั่ง วิธีการรักษาคือเดินลมปราณสลายคั่ง ตารับยาที่ใช้คือ เส่าฝูจูอวี๋ทังปรับเพิ่มลดยาตามความเหมาะสม (少腹逐瘀汤加减) หากตับติดขัดและม้ามพร่อง วิธีการรักษาคือ ทะลวงตับบารุงม้าม ตารับยาที่ใช้คือ ถ้งเซี่ยเย่าฟางโดยปรับเพิ่มลดยาตามความเหมาะสม (痛泄要方加减) ผลการรักษาในผู้ป่วยโรคลาไส้ใหญ่อักเสบเรื้อรังจานวน 36 ราย ดีขึ้นถึง 96.5%
หลี่รุ่ยตงและคณะ[8] ใช้ตารับยาเซียวคุ่ยหยางรักษาผู้ป่วยโรคลาไส้ใหญ่อักเสบจานวน 80 ราย และยังได้จาแนกพยาธิสภาพของผู้ป่วยออกเป็น 6 ประเภทคือ ชื้นร้อนอุดกลั้น , ตับและม้ามทางานไม่ประสานกัน , ลมปราณติดขัดเลือดคั่ง , ม้ามกระเพาะอ่อนแอ , หยางในม้ามไตพร่อง , หยินและเลือดพร่อง ตารับยาที่ใช้รักษาคือ เซียวคุ่ยหยางประกอบด้วยตัวยาไป๋โถวเวิง (白头翁) , ไป๋สาว (白芍) , ตังกุย (当归) , กว่างมู่เซียง (广木香) , ขู่เซิน (苦参) , หวงเหลียน (黄连) , ฉินผี (秦皮) , ตี้-อวี๋ (地榆) , อี้อี่เหริน (薏苡仁) , กันฉ่าว (甘草) สามารถเพิ่ม
ลดยาตามความเหมาะสม ผลการรักษาทางคลินิกพบว่าในผู้ป่วย 80 ราย รักษาหายมีจานวน 48 ราย เห็นผลเด่นชัดมีจานวน 12 ราย มีอาการดีขึ้นจานวน 11 ราย ไม่ได้ผลมีจานวน 9 ราย ผลการรักษาดีขึ้นโดยรวมคิดเป็น 88.75% เมื่อทาการรักษาผู้ป่วยอีกกลุ่มโดยใช้ยาPrednisone และยาSulfasalazine ในการรักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบ ผลการรักษาดีขึ้นโดยรวมคิดเป็น 63.33% เปรียบเทียบผลการรักษาทั้งสองกลุ่มค่าส่วนต่างคิดเป็น (P < 0.05)
สรุป : แนวทางการรักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรังด้วยยาจีนของแพทย์แต่ละท่านนั้น มีจุดเด่นที่น่าสนใจ นอกจากนี้การจาแนกพยาธิสภาพโดยใช้ศาสตร์การแพทย์แผนจีนยังมีความแม่นยา และให้ผลการรักษาทางคลินิกที่มีประสิทธิผล
3.2 รักษาโดยใช้ยาจีนสวนทวารหนัก
แพทย์แผนจีนหลายๆท่านมีความรู้ความเข้าใจในโรคลาไส้ใหญ่อักเสบโดยอาศัยประสบการณ์จากการศึกษาทางคลินิก ผ่านการตกผลึกทางความคิดจนเกิดเป็นแนวทางต่างๆในการรักษา การใช้ยาจีนสวนทวารหนักเป็นการรักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบอีกวิธีหนึ่งที่น่าสนใจและได้ผล
สวีเฉวียนเซิ้ง[9] ศึกษาทางคลินิกโดยใช้ยาจีนสวนทวารหนัก ซึ่งประกอบด้วยตารับยาจีนพื้นฐานผสมกับยาSulfasalazine รักษาผู้ป่วยในโรคลาไส้ใหญ่อักเสบจานวน 30 ราย ตารับยาจีนประกอบด้วยตัวยาพื้นฐานอูเหมย (乌梅) , มู่เซียง (木香) , ตังกุย (当归) , ไป้เจี้ยงฉ่าว (败酱草) , โร่วโต้โค่ว (肉豆蔻) , เก๋อเกิน (葛根) , ชื่อสาว (赤芍) , ไป๋จี๋ (白及) , ซานชี (三七) , หรูเซียง (乳香) , ม่อเย่า (没药) , หลงกู่ (龙骨) , ชื่อสือจือ (赤石脂) หากมีชื้นร้อนลุกลามให้เพิ่มยาหวงเหลียน (黄连) , ไป๋โถวเวิง (白头翁) , ปิงหลาง (槟榔) , ผู่กงอิง (蒲公英) , ตี้-อวี๋ (地榆) , ขู่เซิน (苦参) , ไฮว๋ฮวา (槐花) หากม้ามและไตพร่องให้เพิ่มยาเจ๋อฟู่จื่อ (制附子) , ปู่กู่จือ(补骨脂) , ปี้ป๋า (荜拔) , ตั่งเซิน (党参) , ไปจู๋ (白术) , ฝูหลิง (茯苓) , เฉินผี (陈皮) , สาวเย่า (芍药) ผลการรักษาได้ผลคิดเป็น 86.67% เมื่อทาการศึกษาผู้ป่วยอีกกลุ่มที่ใช้ยาSulfasalazine สวนทางทวาร โดยไม่มีการผสมตัวยาจีนเข้าไป ผลการรักษาได้ผลคิดเป็น 63.3% เปรียบเทียบผลการรักษาทั้งสองกลุ่มค่าส่วนต่างคิดเป็น (P < 0.05)
เว่ยหงปิง[10] รักษาผู้ป่วยจานวน 76 ราย โดยใช้ยาจีนสวนทางทวาร ตารับยาที่ใช้คือฟู๋ฟางซานหวงทังเพิ่มลดยาตามความเหมาะสม (复方三黄汤加减) ประกอบด้วยตัวยาหวงเหลียน (黄连) , หวงไป๋ (黄柏) , หวงฉิน (黄芩) , อู๋เป้ยจื่อ (五倍子) , เจี่ยเซียวจั้ว (甲硝唑) , ซีเล่ยซ่าน (锡类散) หากมีอาการปวดท้องให้เพิ่มยาเยวี๋ยนหู (元胡) , อูเย่า (乌药) , ไป๋สาว (白芍) หากมีมูกเลือดมากให้เพิ่มยาตี้-อวี๋ท่าน (地榆炭) , ไปจี๋ (白及) , ไป้เจี้ยงฉ่าว (败酱草) ผลการรักษาได้ผลคิดเป็น 97.40% เมื่อทาการศึกษาผู้ป่วยอีกกลุ่มจานวน 72 ราย โดยยาสวนทวารหนักซึ่งประกอบด้วยน้าเกลือ 0.9% (生理盐水) , ซีเล่ยซ่าน (锡类散) , ยาGentamycin ผลการรักษาได้ผลคิดเป็น 72.20% เปรียบเทียบผลการรักษาทั้งสองกลุ่มค่าส่วนต่างคิดเป็น (P < 0. 01)
สรุป การใช้ยาจีนเป็นยาสวนทวารหนักโดยสวนผ่านตั้งแต่ทวารหนักเข้าสู่ลาไส้ใหญ่ จะทาให้ยาถูกดูดซึมผ่านลาไส้บริเวณที่มีบาดแผลโดยตรง ทาให้ได้ผลเร็ว นอกจากนี้ยารักษาบางตัวที่ไม่สามารถทานได้เนื่องจากฤทธิ์ยาจะถูกสลายในกระบวนการย่อยอาหาร การสวนทวารหนักจึงเป็นอีกหนึ่งแนวทางการรักษาที่ช่วยลดข้อจากัดของการทานยาได้
3.3 การรักษาโดยการฝังเข็มและการรมยา
3.3.1 รักษาโดยการฝังเข็ม
สาหรับการรักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรังด้วยการฝังเข็มและรมยา จะทาบริเวณตรงส่วนท้อง หลังและขา จุดที่ใช้คือจุดเทียนซู (天枢) , จุดกวนเยวี๋ยน (关元) , จุดชี่ไห่ (气海) , จุดฉางเฉียง (长强) , จุดต้าฉางซู (大肠俞) , จุดจู๋ซานหลี่ (足三里) , จุดซานอินเจียว (三阴交) , จุดยินหลิงเฉวียน (阴陵泉) , จุดซ่างจวี้ ซวี (上巨虚) เพื่อช่วยขับชื้น สลายเลือดคั่ง เดินลมปราณและเลือดในลาไส้ใหญ่ ลดการอักเสบและบรรเทาอาการเจ็บปวด ซึ่งจะนาไปสู่การรักษาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ฟางสงผิง[11] ทาการศึกษาในผู้ป่วยโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรังด้วยวิธีฝังเข็ม จานวน 35 ราย จุดที่ใช้ในการฝังเข็มบริเวณท้องคือ จุดเทียนซู (天枢) , จุดกวนเยวี๋ยน (关元) , จุดชี่ไห่ (气海) จุดที่ใช้ฝังเข็มบริเวณหลังคือ จุดฉางเฉียง (长强) , จุดต้าฉางซู (大肠俞) เสริมด้วยจุดจู๋ซานหลี่ (足三里) และจุดซานอินเจียว (三阴交) ในส่วนของจุดเทียนซู (天枢) , จุดกวนเยวี๋ยน (关元) และจุดชี่ไห่ (气海) ให้ฝังเข็มลึกลงไป 1-2 นิ้ว ผู้ป่วยจะรู้สึกหน่วง (得气) บริเวณหน้าท้อง ส่วนจุดต้าฉางซู (大肠俞) ฝังลึกลงไป 1-2 นิ้ว จุดฉางเฉียง (长强) ฝังลึกลงไป 0.5-1 นิ้ว ทิ้งเข็มทั้งหมดไว้เพียง 15 นาที จุดที่ฝังเข็มทั้งหมดกระตุ้นเข็มด้วยวิธีบารุงและระบายควบคู่กันไป ทุกๆ 5 นาที ให้กระตุ้นเข็ม 1 ครั้ง ฝังเข็ม 1 วันนับเป็น 1 คอร์สการรักษา ผลการรักษาผู้ป่วยจานวน 35 ราย พบว่ารักษาหายมีจานวน 27 ราย คิดเป็น 77.1% เห็นผลเด่นชัดมีจานวน 5 ราย คิดเป็น 14.3% อาการดีขึ้นมีจานวน 2 ราย คิดเป็น 5.7% ไม่ได้ผลมีจานวน 1 ราย คิดเป็น 2.9% จากผลการรักษาข้างต้นมีอาการดีขึ้นโดยรวมทั้งหมดคิดเป็น 97.1%
จางฉินหลาง[12] ศึกษาทางคลินิกในผู้ป่วยโรคUC จานวน 43 ราย โดยฝังเข็มบริเวณเจียจี๋ (夹脊穴) ตั้งแต่กระดูกอกที่ 8-12 ร่วมกับฝังเข็มบริเวณหลัง จุดที่ใช้ฝังเข็มคือ จุดเว่ยซู (胃俞) , จุดต้าฉางซู (大肠俞) , จุดซ่างเหลียว (上髎) และจุดชื่อเหลียว (次髎) รักษาทั้งหมด 30 วัน ผลการรักษาดีขึ้นโดยรวมคิดเป็น 93%
3.3.2 การรมยาโดยใช้แท่งโกฐจุฬาลัมพาจีน
หลี่ไห่เฉียง[13] ใช้การรมยาด้วยแท่งโกฐฯรักษาผู้ป่วยโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรัง โดยแบ่งผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกรักษาด้วยยาSulfasalazine ยาลดการอักเสบและให้น้ายาทางสายน้าเกลือ กลุ่มที่ 2 รักษาอิงตามกลุ่มแรก แต่เพิ่มการรมยาด้วยโกฐฯเข้าไปที่จุดเสินเจว๋ (神阙) , จุดซ่างเซี่ยจวี้ซวี (上下巨虚) ทั้งนี้อาจรู้สึก
อุ่นร้อน กล้ามเนื้อเต้น รู้สึกแน่นๆหนักๆ หรือพบว่ามีเหงื่อออก ขั้นตอนการรักษาให้ทาวันละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 25 วัน ผลการรักษาพบว่ากลุ่มแรกดีขึ้นโดยรวมคิดเป็น 69.69% ส่วนกลุ่มที่ 2 ดีขึ้นโดยรวมคิดเป็น 82.35% (P < 0. 05)
ม่ออิ้งเสียและคณะ[14] รักษาผู้ป่วยโดยการรมยาด้วยโกฐฯควบคู่กับการใช้ยาจีนสวนทวารหนัก โดยให้ผู้ป่วยสวนยาทวารหนักก่อน หลังจากนั้นค่อยรมยาที่จุดเสินเจว๋ (神阙) , จุดเทียนซู (天枢) , จุดกวนเยวี๋ยน (关元) การรมยาใช้เวลาประมาณ 30 นาที โดยให้รู้สึกอุ่นๆ หรือรู้สึกว่ากล้ามเนื้อข้างในเต้น หรือรู้สึกสบาย อาจพบว่าร่างกายบางส่วนมีเหงื่อออก ให้ทาการรมยาวันละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 3 สัปดาห์ ผลการรักษาได้ผลคิดเป็น 93.55%
3.3.3 การรมยาโดยใช้แผ่นขิงรองใต้โกฐจุฬาลัมพาจีน
ติงหง[15] ใช้การรมยาด้วยการนาแผ่นขิงรองใต้โกฐฯรักษาผู้ป่วยโรคUC ที่มีภาวะหยางในม้ามไตพร่อง โดยใช้จุดจากเส้นลมปราณกระเพาะปัสสาวะหรือเส้นไท่หยางผางกวาง (足太阳膀胱经) ได้แก่ จุดเฟ่ยซู (肺俞) , จุดผีซู (脾俞) , จุดเซิ่นซู (肾俞) และจุดต้าฉางซู (大肠俞) โดยวางแผ่นขิงลงไปตามด้วยโกฐฯที่ปั้นเป็นก้อน สังเกตจุดรมยาต้องมีลักษณะแดงระเรื่อไม่มีตุ่มน้า การรักษาให้ทาการรมยาวันละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 2 เดือน เมื่อทาการรักษาผู้ป่วยอีกกลุ่มด้วยการทานยาSulfasalazine ผลการรักษาในกลุ่มผู้ป่วยที่ทานยาได้ผลคิดเป็น 90.32% ส่วนกลุ่มที่รักษาด้วยการรมยาได้ผลคิดเป็น 100% (P < 0. 05)
จงจื้อกังและคณะ[16] รักษาผู้ป่วยโรคUC จานวน 62 ราย โดยการรมยาที่จุดเสินเจว๋ (神阙) โดยใช้แผ่นขิงรองใต้โกฐฯ รักษา 12 วัน นับเป็น 1 คอร์สการรักษา ทาการรักษาต่อเนื่องจานวน 2 คอร์ส เมื่อทาการรักษาผู้ป่วยอีกกลุ่มด้วยการทานยาจีน ตารับยาที่ใช้คือเสินหลิงไปจู๋ส่านเพิ่มลดยาตามความเหมาะสม (参苓白术散加减) ซึ่ประกอบด้วยตัวยาตั่งเซิน (党参) , ไปจู๋ (白术) , ฝูหลิง (茯苓) , ฉ่าวซานเย่า (炒山药) , ฉ่าวเพียนโต้ว (炒扁豆) , อี้อี่เหริน (薏苡仁) , ซาเหริน (砂仁) , เจี๋ยเกิ่ง (桔梗) , ต้าจ่าว (大枣) ผลการรักษาพบว่ากลุ่มผู้ป่วยที่รักษาด้วยการมยาได้ผลคิดเป็น 90.32% ส่วนกลุ่มที่รักษาด้วยการทานยาจีนได้ผลคิดเป็น 70% (P < 0. 05)
3.3.4 รักษาโดยการฝังเข็มควบคู่กับการรมยา
หนงฉวินและคณะ[17] รักษาผู้ป่วยโดยการฝังเข็มควบคู่กับการรมยา จุดที่ใช้ฝังเข็มคือจุดจู๋ซานหลี่ (足三里) , จุดจงหว่าน (中脘) , จุดกวนเยวี๋ยน (关元) , จุดเทียนซู (天枢) และจุดยินหลิงเฉวียน (阴陵泉) เมื่อผู้ป่วยรู้สึกหน่วงๆ (得气) ให้รมยาด้วยวิธีเวินเหอจิว (温和灸) ที่จุดเสินเจว๋ (神阙) ในขณะเดียวกันให้นาโคมร้อนอุ่นที่จุดกวนเยวี๋ยน (关元) ความร้อนให้ผู้ป่วยรู้สึกพอทนได้ ระยะเวลารักษาครั้งละ 30 นาที รักษาวันเว้นวัน เมื่อเปรียบเทียบผู้ป่วยอีกกลุ่มที่รักษาด้วยยาSulfasalazine กับยาMetronidazole พบว่าหลังจากติดตามอาการผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มเป็นเวลา 12 สัปดาห์ หลังจากนั้นอีก 6 เดือน กลุ่มผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธีการฝังเข็มควบคู่กับการรมยาได้ผลคิดเป็น 90.9% ส่วนกลุ่มผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยการทานยาได้ผลคิดเป็น 73.3% (P < 0. 05)
ตันชื่อจวินและคณะ[18] ใช้การฝังเข็มและรมยารักษาผู้ป่วยโรคUC จานวน 87 ราย จุดที่ใช้ฝังเข็มและรมยาคือจุดจงหว่าน (中脘) , จุดเทียนซู (天枢) , จุดจู๋ซานหลี่ (足三里) , จุดซ่างจวี้ซวี (上巨虚) , จุดผีซู (脾俞) , จุดต้าฉางซู (大肠俞) และจุดกวนเยวี๋ยน (关元) ซึ่งเป็นจุดหลักที่ใช้ทาการรักษา รักษาวันละ 1 ครั้ง ทาการรักษา 10 ครั้ง นับเป็น 1 คอร์สการรักษา ช่วงที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาต้องงดทานอาหารเผ็ด ของทอด ของเย็นและอาหารที่มีฤทธิ์เย็น หลังจากรักษาผู้ป่วยประมาณคอร์สที่ 2 ถึงคอร์สที่ 5 ผลการรักษาพบว่าได้ผลคิดเป็น 97.7%
3.3.5 รักษาด้วยวิธีฝังเข็มร้อยไหม
จากการศึกษาพบว่าการรักษาโรคUC ด้วยการฝังเข็มร้อยไหมให้ผลการรักษาที่ดีกว่าการทานยาแผนปัจจุบันอย่างเห็นได้ชัด หยางจ้งซิ่งและคณะ[19] ใช้การฝังเข็มร้อยไหมร่วมกับการใช้ตารับยาคุ่ยเจี๋ยส่าน (溃结散) รักษาผู้ป่วยโรคUC จานวน 100 ราย จุดที่ใช้ฝังเข็มร้อยไหมคือ จุดจงหว่าน (中脘) , จุดต้าฉางซู่ (大肠俞) , จุดเทียนซู (天枢) , จุดจู๋ซานหลี่ (足三里) , จุดซานอินเจียว (三阴交) และจุดกวนเยวี๋ยน (关元) หากลมปราณม้ามและกระเพาะพร่องให้เพิ่มจุดผีซู (脾俞) , จุดชี่ไห่ (气海) หากหยางในม้ามไตพร่องให้เพิ่มจุดเซิ่นซู (肾俞) และหากลมปราณติดขัดให้เพิ่มจุดกานซู (肝俞) และจุดไท่ชง (太冲) ทุกครั้งที่รักษาให้เลือกจุดที่จะฝังเข็มร้อยไหม 3-5 จุด 15 วันทาการรักษา 1 ครั้ง ทาการรักษา 2 ครั้ง นับเป็น 1 คอร์สการรักษา ให้ทาการรักษาควบคู่กับการใช้ตารับยาคุ่ยเจี๋ยส่าน (溃结散) ซึ่งประกอบด้วยตัวยาหวงฉี (黄芪) 30 กรัม , ยาเจียวจู๋ (焦术) 40 กรัม , ยาไป๋จี๋ (白及) 30 กรัม , ยาเฮอจื่อ (诃子) 24 กรัม , ยาอูเจ๋ยกู่ (乌贼骨) 24 กรัม , ยาฝูหลิง (茯苓) 30 กรัม , ยาอูเหมย (乌梅) 24 กรัม , ยาจื้อต้าหวง (炙大黄) 6 กรัม , ยาสือหลิวผี (石榴皮) 30 กรัม ผลการรักษาด้วยแพทย์แผนจีนได้ผลคิดเป็น 98% ส่วนผลการรักษาด้วยการสอดกล้องผ่าตัดได้ผลคิดเป็น 97%
หลี่ตงปิงและคณะ[20] ใช้การฝังเข็มร้อยไหมที่ทามาจากลาไส้ของแกะฝังที่จุดต้าฉางซู (大肠俞) , จุดเทียนซู(天枢) , จุดจู๋ซานหลี่ (足三里) , จุดเซี่ยหว่านฝังทะลุถึงจุดเจี้ยนหลี่ (下脘透建里) , จุดจงจี๋ฝังทะลุถึงจุดชี่ให่ (中极透气海) หลังการรักษาเสร็จสิ้น 2 เดือน ได้ตรวจผู้ป่วยด้วยการส่องกล้องที่ลาไส้พบว่าการรักษาได้ผล และผลการรักษาคิดเป็น 99.2% ส่วนผลการรักษาด้วยการสอดกล้องผ่าตัดได้ผลคิดเป็น 83.7%
สรุป การใช้การฝังเข็มและรมยารักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผลเรื้อรัง ได้ถูกค้นคว้าพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดแนวทางการรักษาที่หลากหลาย ปัจจุบันการรักษาด้วยวิธีฝังเข็มและรมยาเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ได้ผลเร็วและดีอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ยังสามารถลดการกลับมาเป็นซ้าของโรคได้

4. รักษาด้วยการนวดทุยหนา 3 ขั้นตอน 9 กระบวนท่า
หลี่เสี่ยวเยี่ยน , ลวี่หมิงและคณะ[21] ได้ศึกษาและทดลองในเดือนตุลาคม ปี 2006 จนถึงเดือน
กุมภาพันธ์ปี 2009 โดยได้คิดค้นวิธีการนวดทุยหนา 3 ขั้นตอน 9 กระบวนท่า รักษาผู้ป่วยโรคUC จานวน 91 ราย ควบคู่กับการรักษาด้วยวิธีฝังเข็ม ซึ่งสรุปออกมาได้ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนคว่า
- กระบวนท่าที่ 1 นวดแบบผลักและวน (推摩法) ตรงหลังผู้ป่วยบริเวณเส้นผางกวาง (膀胱经) ตั้งแต่จุดเก๋อซู (膈俞) จนถึงจุดต้าฉางซู (大肠俞) โดยนวดไล่จากบนลงล่างประมาณ 5 นาที
- กระบวนท่าที่ 2 ใช้นิ้วโป้งหัวแม่มือกด (按法) ตรงจุดเก๋อซู (膈俞) , จุดเกาฮวังซู (膏盲俞) ,จุดผีซู (脾俞) ,จุดเว่ยซู (胃俞) และจุดต้าฉางซู (大肠俞) กดจุดละ 1-2 นาที
- กระบวนท่าที่ 3 ใช้นิ้วโป้งหัวแม่มือทั้งสองข้างผลักตามแนวเส้นลมปราณผางกวาง (膀胱经) ประมาณ 2 นาที
- กระบวนท่าที่ 4 ใช้สันมือถู (擦法) แนวขวางตรงจุดเซิ่นซู (肾俞) , จุดมิ่งเหมิน命门และเส้นลมปราณตู (督脉) ให้ถูจนรู้สึกร้อน
ขั้นตอนที่ 2 ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงาย
- กระบวนท่าที่ 5 ใช้ฝ่ามือนวดวน (摩法) บริเวณท้องน้อยเป็นเวลา 6-8 นาที
- กระบวนท่าที่ 6 ใช้ฝ่ามือคลึง (揉法) ตรงจุดเสินเจว๋ (神阙) เป็นเวลาประมาณ 2 นาที
- กระบวนท่าที่ 7 ใช้นิ้วโป้งหัวแม่มือกดคลึง (按揉法) ตรงจุดจงหว่าน (中脘) , จุดเทียนซู (天枢) , จุดชี่ไห่ (气海) , จุดกวนเยวี๋ยน (关元) กดคลึงจุดละประมาณ 1 นาที
- กระบวนท่าที่ 8 ใช้นิ้วโป้งหัวแม่มือนวดท่าเตี่ยน (点法) ตรงจุดจู๋ซานหลี่ (足三里) , จุดยินหลิงเฉวี๋ยน (阴陵泉) , จุดไท่ชง (太冲) นวดจุดละประมาณ 1 นาที
ขั้นตอนที่ 3 ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง
- กระบวนท่าที่ 9 ใช้มือทั้งสองข้างนวดท่าชัว (搓法) ตรงข้างลาตัว 3-5 รอบ หลังจากนั้นให้นวดท่าชัวต่อตรงไหล่และหลัง 3-5 รอบ
ส่วนการฝังเข็มนั้นจุดที่ใช้ฝังคือจุดผีซู (脾俞) , จุดเว่ยซู (胃俞) , จุดต้าฉางซู (大肠俞) , จุดจิ้งเหมิน (章门) , จุดจงหว่าน (中脘) , จุดเทียนซู(天枢) , จุดกวนเยวี๋ยน (关元) , จุดจู๋ซานหลี่ (足三里) โดยกระตุ้นเข็มแบบบารุงและให้เพิ่มการรมยา ทาการรักษาครั้งละ 30 นาที ทาวันละ 1 ครั้ง รักษา 10 ครั้ง นับเป็น 1 คอร์สการรักษา เมื่อทาการรักษาผู้ป่วยอีกกลุ่มด้วยวิธีฝังเข็มและรมยาโดยไม่มีการนวดทุยหนา ซึ่งจุดฝังเข็ม จุดรมยาและการกระตุ้นเข็มให้อิงตามกลุ่มแรก ผลการรักษาพบว่าผู้ป่วยกลุ่มแรกจานวน 91 ราย ได้ผลชัดเจนมีจานวน 61 ราย ดีขึ้นมีจานวน 28 ราย ไม่ได้ผลมีจานวน 2 ราย ผลการรักษาผู้ป่วยกลุ่มที่ 2 จานวน 91 ราย ได้ผลชัดเจนมีจานวน 41 ราย ดีขึ้นมีจานวน 45 ราย ไม่ได้ผลมีจานวน 5 ราย เปรียบเทียบผลการรักษาค่าส่วนต่างคิดเป็น ( P < 0. 01)
สรุป การรักษาผู้ป่วยโรคUC ในรายที่อาการเป็นหนักมีความซับซ้อนของโรค หรือข้อจากัดต่างๆ ในการใช้ยาจีนอาจไม่สามารถตอบสนองต่อการรักษาได้อย่างสูงสุด การรักษาด้วยวิธีการนวดทุยหนา การฝังเข็มและรมยาจึงเป็นอีกแนวทางการรักษาหนึ่งที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา ทั้งในเรื่องการเสริมภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย การซ่อมแซมในส่วนที่เกิดพยาธิสภาพ ฉะนั้นการนวดทุยหนาร่วมกับการฝังเข็มรมยาจึงมีบทบาทสาคัญในการรักษาทางคลินิก

เอกสารอ้างอิง
[1] 张凌伟,万生芳等.中药内服治疗慢性非特异性溃疡性结肠炎的研究进展[J].河北中医,2015,37(12):1910.
[2] 陈治水.溃疡性结肠炎的中医分型和治疗[J].现代消化及介入诊疗,2008,13(3):200-204.
[3] 王高峰,黄天生,朱生榇.朱生樑辨证治疗溃疡性结肠炎经验[J].中医杂志,2010,51(S1):100-101.
[4] 林敏.溃疡性结肠炎的中医药诊治[J].湖北中医杂志,2012,34(3):55-56.
[5] 中国中西医结合学会消化系统疾病专业委员会.溃疡性结肠炎中西医结合诊疗指南(草案)[J].中国中西医结合消化杂志,2011,19(1):61-65.
[6] 张相安.辨证分型治疗溃疡性结肠炎69例[J].医药论坛杂志,2008,29(10):71-72.
[7] 黄文武.中医辨证论治治疗慢性溃疡性结肠36例[J].井冈山学院学报,2006,27(2) : 122.
[8] 李瑞东,李佃贵,李晓荟.消溃方治疗溃疡性结肠炎80例[J].山东中医杂志,2006,25(3):161-162.
[9] 徐权胜,肖新李,黄春旭.中药保留灌肠治疗溃疡性结肠炎疗效观察[J].实用中西医结合临床,2011,11(2):30-31.
[10] 魏红兵.复方三黄汤保留灌肠治疗溃疡性结肠炎76 例观察[J].中国医药导报, 2009,6(12):86.
[11] 方雄平.中医针灸治疗慢性溃疡性结肠炎疗效观察[J].亚太传统医药,2012,8(5):58-59.
[12] 张勤良.针刺夹脊穴配合背俞穴治疗溃疡性结肠炎43例[J].辽宁中医杂志,2003,30( 8) : 679.
[13] 李海强,周翼,张冬琼,等.艾箱灸神阙上下巨虚穴治疗慢性溃疡性结肠炎[J].针灸临床杂志,2008,24(9):33-35.
[14] 莫映霞,王雪芳,屈伟荣,等.艾箱灸疗法加中药灌肠治疗慢性溃疡性结肠炎的疗效观察[J].护理研究,2010,24(1):216-217.
[15] 丁红,王红,张田,等.隔姜灸治疗脾肾阳虚型溃疡性结肠炎疗效观察[J].武警医学院学报,2009,18(6):509-510.
[16] 钟志刚,苏诺,刘毅华,等.隔姜灸神厥穴治疗溃疡性结肠炎62例[J].中国医药指南,2008,6(6):149-150.
[17] 沈群,陆菁,郭颂铭.针灸十字穴为主治疗溃疡性结肠炎疗效观察[J].上海针灸杂志,2012,31(5):319-320.
[18] 单赤军,全昕.温针灸治疗慢性溃疡性结肠炎 87例[J].中医药导报,2007, 13(8):57.
[19] 杨重兴,张红霞,王一萍,等.溃结散配合穴位埋线治疗溃疡性结肠炎100例[J].中医研究,2011,24(2):65-67.
[20] 李东冰,谢振年.穴位强化埋线疗法治疗慢性非特异性溃疡性结肠炎[J].中国临床医生杂志,2008,36(2) :43-44.
[21] 吕明,刘晓艳.推拿三步九法结合针灸治疗慢性溃疡性结肠炎91例[J].陕西中医,2009,30(11):1521.